วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2562

กำเเพงเมืองจีน

กำแพงเมืองจีน




สิ่งมหัศจรรย์ที่ติดอันดับทั้งจากโลกยุคกลางและโลกยุคใหม่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “กำแพงหมื่นลี้” สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าจิ๋นซีฮ่องเต้ (Qin Si Huang) เพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าทางเหนือ และมีการสร้างขยายต่อเติมมาถึงในสมัยราชวงศ์หมิง จากการสำรวจในปี ค.ศ. 2012 พบว่ากำแพงหลักและสาขาย่อยต่างๆ มีความยาวรวมกันเกือบ 22,000 กิโลเมตร โดยส่วนใหญ่นักท่องเที่ยวจะนิยมไปเยี่ยมชมกำแพงเมืองจีนกันที่เมืองปักกิ่ง





กำแพงเมืองจีน หรือ The Great Wall of China สถานที่ท่องเที่ยวชื่อดังและยิ่งใหญ่ อันเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน ที่ครั้งหนึ่งเคยใช้เป็นตัวแทนความรุ่งเรืองของจีนมาหลายศตวรรษ ทั้งยังนับเป็นงานก่อสร้างที่มหัศจรรย์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเท่าที่เคยมีมา หากแต่ยังมีเรื่องน่ารู้มากมายที่ซุกซ่อนอยู่เบื้องหลังกำแพงยิ่งใหญ่แห่งนี้ และไม่แน่ว่าอาจเป็นเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อน บอกเลยว่างานนี้เน้นสาระล้วน ๆ


 1. กำแพงเมืองจีนมีความยาวอย่างเป็นทางการครั้งล่าสุด (** รายงานการอัปเดตครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2555 จาก สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน) อยู่ที่ 21,196.18 กิโลเมตร หรือ 13,170.7 ไมล์

  2. กำแพงเมืองจีนมีอาณาเขตครอบคลุมทั้งหมด 9 มณฑล คือ มณฑลเหลียวหนิง (Liaoning), มณฑลเทียนจิน (Tianjin), มณฑลเหอเป่ย์ (Hebei), ปักกิ่ง (Beijing), เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (Inner Mongolia), มณฑลซานซี (Shanxi), มณฑลส่านซี (Shaanxi), เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย (Ningxia) และ มณฑลกานซู (Gansu)

          3. จักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์แรกของประวัติศาสตร์จีน เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองจีนนี้ขึ้นมา ทรงปราบปรามก๊กต่าง ๆ ทั้ง 6 ก๊กได้สำเร็จ รวบรวมจีนเป็นหนึ่งเดียว เพื่อป้องกันศัตรูเข้ามาบุกรุกและปล้นสะดม และมีการบูรณะแก้ไขเพิ่มเติมทั้งในสมัยฮั่น ถัง และหมิงตามลำดับ ปัจจุบันที่เห็นเป็นกำแพงของราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-1644)

          4. วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างกำแพงเมืองจีนมีความหลากหลาย และแตกต่างกันตามแต่ละภูมิประเทศที่กำแพงเหล่านั้นพาดผ่าน ซึ่งมีทั้งหิน ดิน และไม้เป็นวัสดุหลัก แต่บางจุดก็ใช้หินอ่อน หินแกรนิต โคลน หรือดินเผา แต่ที่คงเหลืออยู่ในปัจจุบันมักเป็นกำแพงที่สร้างด้วยหิน

          5. กำแพงเมืองจีนสร้างขึ้นจากหยาดเหงื่อแรงงานนับล้าน โดยแรงงานที่ถูกเกณฑ์มาส่วนใหญ่เป็นนักโทษสงครามและทาส และมีแรงงานจำนวนไม่น้อยที่เสียชีวิตลงระหว่างการก่อสร้าง และศพเหล่านั้นก็ได้ถูกฝังทับถมอยู่ภายใต้กำแพง จนได้ชื่อว่าเป็นสุสานที่ยาวที่สุดในโลก

 6. กำแพงเมืองจีนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้รับการยกย่องให้เป็น 1 ใน 7 ของสิ่งมหัศจรรย์แห่งโลกยุคกลาง ทั้งยังเป็นสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ยาวที่สุดในโลก

          7. วัตถุประสงค์ของการสร้างกำแพงเมืองจีน เพื่อป้องกันอาณาจักรไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเมืองหลวงได้ง่าย และยังเป็นแนวบอกชายแดนอีกด้วย นับจากสมัยจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ กำแพงเมืองจีนก็ได้สร้างกันมาอีกหลายยุคหลายสมัย รวมระยะเวลาสร้างทั้งสิ้นเกือบสองพันปี

          8. ปัจจุบันกำแพงเมืองจีนที่เราเห็นเป็นเพียงแค่ 1 ใน 3 ของกำแพงทั้งหมดเท่านั้น และมีแนวโน้มว่าอาจจะลดลงอีกเรื่อย ๆ สาเหตุสำคัญมาจากขาดการดูแลและอนุรักษ์ รวมถึงสภาพอากาศที่แปรปรวน ซึ่งมีผลต่อการกัดเซาะและสึกกร่อนของกำแพงเมืองจีนไปเรื่อย ๆ



กำแพงเมืองจีน (จีนตัวย่อ长城จีนตัวเต็ม長城พินอินChángchéng "ฉางเฉิง", อังกฤษGreat Wall of China) เป็นกำแพงที่มีป้อมคั่นเป็นช่วง ๆ ของจีนสมัยโบราณ กำแพงส่วนใหญ่ที่ปรากฏในปัจจุบันสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฉิน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการบุกรุกจาก ชาวฮัน หรือ ซฺยงหนู คำว่า ซฺยงหนู บางทีก็สะกดว่า ซุงหนู หรือ ซวงหนู ที่เป็นไม้เบื่อไม้เมากับอารยธรรมจีนในยุคต้น ๆ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว (ราว 400 ปีก่อนคริสตกาล) เนื่องจากจะเข้ามารุกรานจีนตามแนวชายแดนทางเหนือ ในสมัยราชวงศ์ฉิน ได้สั่งให้สร้างกำแพงหมื่นลี้ตามชายแดน เพื่อป้องกันพวกซฺยงหนูเข้ามารุกรานและพวกเติร์ก จากทางเหนือ หลังจากนั้นยังมีการสร้างกำแพงต่ออีกหลายครั้งด้วยกัน แต่ภายหลังก็มีเผ่าเร่ร่อนจากมองโกเลียและแมนจูเรียสามารถบุกฝ่ากำแพงเมืองจีนได้สำเร็จ
กำแพงเมืองจีนยังคงเรียกว่า "กำแพงหมื่นลี้" (จีนตัวย่อ万里长城จีนตัวเต็ม萬里長城พินอินWànlĭ Chángchéng "ว่านหลี่ฉางเฉิง") สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ว่านักโบราณคดีได้ตรวจวัดความยาวของสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกหรือ "กำแพงเมืองจีน" อย่างเป็นทางการนานร่วม 5 ปี ตั้งแต่ 2008-2012 และพบว่ายาวกว่าที่บันทึกไว้เดิมกว่า 2 เท่า หรือ 21,196.18 กิโลเมตร จากเดิม 8,850 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 15 มณฑลทั่วประเทศ[1] และนับเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ยุคกลาง ด้วย มีความเชื่อกันว่า หากมองเมืองจีนจากอวกาศจะสามารถเห็นกำแพงเมืองจีนได้ ซึ่งในความเป็นจริงไม่สามารถมองเห็นจากอวกาศได้[2]







ตำนานคลาสสิคกำแพงเมืองจีนพังทลาย เพราะน้ำตาของหญิงที่เสียคนรักซึ่งถูกทางการเกณฑ์ไปใช้แรงงานจนตาย  
กำแพงเมืองจีน หรือ “กำแพงหมื่นลี้” ที่เรียกตามความยิ่งใหญ่ของกำแพงที่ยาวกว่าหมื่นลี้ สร้างขึ้นเพื่อใช้สกัดกั้นและป้องกันการรุกรานในชีวิตและทรัพย์สินของชาวฮั่นที่อยู่ทางใต้ของตัวกําแพงจากพวกชนเผ่าทางเหนือ กำแพงเมืองจีนสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฉิน (พ.ศ. 323-338) หรือกว่า 2,000 ปีก่อน ซึ่งขณะนั้นยังไม่มีวิทยาการที่จะช่วยแบ่งเบาการทำงานของคนงานที่ถูกเฏณฑ์มาสร้างกำแพงมากนัก
สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เช่นนี้จึงสร้างความทุกข์ยากแสนสาหัสแก่ประชาชน เพราะพวกเขาต้องถูกเกณฑ์มาใช้แรงงานอย่างไม่ต้องสงสัย ชายฉกรรจ์ที่เป็นผู้สร้างกําแพงจํานวน 200,000-300,000 คน ทำงานในสภาพภูมิอากาศที่อันตราย หนาวเหน็บ และงานที่ตรากตรำ ชีวิตของพวกเขาจึงเหมือนมีชีวิตแขวนอยู่บนเส้นดาย
ส่วนครอบครัวทางบ้านก็อยู่ในสภาพที่ไม่แตกต่างกัน ชีวิตของพ่อแม่ลูกและภรรยาของพวกเขาต้องขาดหลักประกัน และสิ้นหวังเพราะไม่ทราบว่าสมาชิกในครอบครัวที่ถูกเกณฑ์ไปใช้แรงงานนับแรมปีจะได้มีโอกาสกลับมาพบหน้ากันอีกหรือไม่
ความสงสารเห็นใจต่อตัวผู้ที่เป็นแรงงานสร้างกําแพง และการประณามการปกครองที่โหดร้ายของราชวงศ์ฉิน ได้ค่อยๆ ก่อเกิดเรื่องเล่า “นางเมิ่งเจียงหนี่ว์ร้องไห้ที่กําแพงเมืองจีน” ขึ้นในหมู่ประชาชน
เรื่องมีอยู่ว่า ว่านสี่เหลียง ผู้มีสติปัญญาความรู้ ที่พยายามหลบซ่อนตัวจากการเกณฑ์แรงงานไปสร้างกำแพงเมืองของทางการ วันหนึ่งเขาได้หนีไปอยู่ที่บ้านตระกูลเมิ่ง นางเมิ่งเจียงหนี่ว์ผู้มีจิตใจงดงามและพ่อแม่ของนางช่วยให้ที่หลบซ่อนตัว พ่อแม่ของนางชื่นชอบในตัวว่านสี่เหลียงเป็นอย่างยิ่ง จึงยกนางเมิ่งเจียงหนี่ว์ให้เป็นภรรยา ทั้งสองแต่งงานได้เพียงไม่กี่วัน ว่านสี่เหลี่ยงก็ถูกทางการเกณฑ์ไปสร้างกําแพง




นายธีระศักดิ์ หนูสน ม.6/6 เลขที่27






กำแพงเมืองจีน.

กำแพงเมืองจีน




สิ่งมหัศจรรย์ที่ติดอันดับทั้งจากโลกยุคกลางและโลกยุคใหม่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “กำแพงหมื่นลี้” สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าจิ๋นซีฮ่องเต้ (Qin Si Huang) เพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าทางเหนือ และมีการสร้างขยายต่อเติมมาถึงในสมัยราชวงศ์หมิง จากการสำรวจในปี ค.ศ. 2012 พบว่ากำแพงหลักและสาขาย่อยต่างๆ มีความยาวรวมกันเกือบ 22,000 กิโลเมตร โดยส่วนใหญ่นักท่องเที่ยวจะนิยมไปเยี่ยมชมกำแพงเมืองจีนกันที่เมืองปักกิ่ง





กำแพงเมืองจีน หรือ The Great Wall of China สถานที่ท่องเที่ยวชื่อดังและยิ่งใหญ่ อันเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน ที่ครั้งหนึ่งเคยใช้เป็นตัวแทนความรุ่งเรืองของจีนมาหลายศตวรรษ ทั้งยังนับเป็นงานก่อสร้างที่มหัศจรรย์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเท่าที่เคยมีมา หากแต่ยังมีเรื่องน่ารู้มากมายที่ซุกซ่อนอยู่เบื้องหลังกำแพงยิ่งใหญ่แห่งนี้ และไม่แน่ว่าอาจเป็นเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อน บอกเลยว่างานนี้เน้นสาระล้วน ๆ


 1. กำแพงเมืองจีนมีความยาวอย่างเป็นทางการครั้งล่าสุด (** รายงานการอัปเดตครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2555 จาก สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน) อยู่ที่ 21,196.18 กิโลเมตร หรือ 13,170.7 ไมล์

  2. กำแพงเมืองจีนมีอาณาเขตครอบคลุมทั้งหมด 9 มณฑล คือ มณฑลเหลียวหนิง (Liaoning), มณฑลเทียนจิน (Tianjin), มณฑลเหอเป่ย์ (Hebei), ปักกิ่ง (Beijing), เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (Inner Mongolia), มณฑลซานซี (Shanxi), มณฑลส่านซี (Shaanxi), เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย (Ningxia) และ มณฑลกานซู (Gansu)

          3. จักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์แรกของประวัติศาสตร์จีน เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองจีนนี้ขึ้นมา ทรงปราบปรามก๊กต่าง ๆ ทั้ง 6 ก๊กได้สำเร็จ รวบรวมจีนเป็นหนึ่งเดียว เพื่อป้องกันศัตรูเข้ามาบุกรุกและปล้นสะดม และมีการบูรณะแก้ไขเพิ่มเติมทั้งในสมัยฮั่น ถัง และหมิงตามลำดับ ปัจจุบันที่เห็นเป็นกำแพงของราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-1644)

          4. วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างกำแพงเมืองจีนมีความหลากหลาย และแตกต่างกันตามแต่ละภูมิประเทศที่กำแพงเหล่านั้นพาดผ่าน ซึ่งมีทั้งหิน ดิน และไม้เป็นวัสดุหลัก แต่บางจุดก็ใช้หินอ่อน หินแกรนิต โคลน หรือดินเผา แต่ที่คงเหลืออยู่ในปัจจุบันมักเป็นกำแพงที่สร้างด้วยหิน

          5. กำแพงเมืองจีนสร้างขึ้นจากหยาดเหงื่อแรงงานนับล้าน โดยแรงงานที่ถูกเกณฑ์มาส่วนใหญ่เป็นนักโทษสงครามและทาส และมีแรงงานจำนวนไม่น้อยที่เสียชีวิตลงระหว่างการก่อสร้าง และศพเหล่านั้นก็ได้ถูกฝังทับถมอยู่ภายใต้กำแพง จนได้ชื่อว่าเป็นสุสานที่ยาวที่สุดในโลก

 6. กำแพงเมืองจีนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้รับการยกย่องให้เป็น 1 ใน 7 ของสิ่งมหัศจรรย์แห่งโลกยุคกลาง ทั้งยังเป็นสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ยาวที่สุดในโลก

          7. วัตถุประสงค์ของการสร้างกำแพงเมืองจีน เพื่อป้องกันอาณาจักรไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเมืองหลวงได้ง่าย และยังเป็นแนวบอกชายแดนอีกด้วย นับจากสมัยจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ กำแพงเมืองจีนก็ได้สร้างกันมาอีกหลายยุคหลายสมัย รวมระยะเวลาสร้างทั้งสิ้นเกือบสองพันปี

          8. ปัจจุบันกำแพงเมืองจีนที่เราเห็นเป็นเพียงแค่ 1 ใน 3 ของกำแพงทั้งหมดเท่านั้น และมีแนวโน้มว่าอาจจะลดลงอีกเรื่อย ๆ สาเหตุสำคัญมาจากขาดการดูแลและอนุรักษ์ รวมถึงสภาพอากาศที่แปรปรวน ซึ่งมีผลต่อการกัดเซาะและสึกกร่อนของกำแพงเมืองจีนไปเรื่อย ๆ



กำแพงเมืองจีน (จีนตัวย่อ长城จีนตัวเต็ม長城พินอินChángchéng "ฉางเฉิง", อังกฤษGreat Wall of China) เป็นกำแพงที่มีป้อมคั่นเป็นช่วง ๆ ของจีนสมัยโบราณ กำแพงส่วนใหญ่ที่ปรากฏในปัจจุบันสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฉิน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการบุกรุกจาก ชาวฮัน หรือ ซฺยงหนู คำว่า ซฺยงหนู บางทีก็สะกดว่า ซุงหนู หรือ ซวงหนู ที่เป็นไม้เบื่อไม้เมากับอารยธรรมจีนในยุคต้น ๆ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว (ราว 400 ปีก่อนคริสตกาล) เนื่องจากจะเข้ามารุกรานจีนตามแนวชายแดนทางเหนือ ในสมัยราชวงศ์ฉิน ได้สั่งให้สร้างกำแพงหมื่นลี้ตามชายแดน เพื่อป้องกันพวกซฺยงหนูเข้ามารุกรานและพวกเติร์ก จากทางเหนือ หลังจากนั้นยังมีการสร้างกำแพงต่ออีกหลายครั้งด้วยกัน แต่ภายหลังก็มีเผ่าเร่ร่อนจากมองโกเลียและแมนจูเรียสามารถบุกฝ่ากำแพงเมืองจีนได้สำเร็จ
กำแพงเมืองจีนยังคงเรียกว่า "กำแพงหมื่นลี้" (จีนตัวย่อ万里长城จีนตัวเต็ม萬里長城พินอินWànlĭ Chángchéng "ว่านหลี่ฉางเฉิง") สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ว่านักโบราณคดีได้ตรวจวัดความยาวของสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกหรือ "กำแพงเมืองจีน" อย่างเป็นทางการนานร่วม 5 ปี ตั้งแต่ 2008-2012 และพบว่ายาวกว่าที่บันทึกไว้เดิมกว่า 2 เท่า หรือ 21,196.18 กิโลเมตร จากเดิม 8,850 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 15 มณฑลทั่วประเทศ[1] และนับเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ยุคกลาง ด้วย มีความเชื่อกันว่า หากมองเมืองจีนจากอวกาศจะสามารถเห็นกำแพงเมืองจีนได้ ซึ่งในความเป็นจริงไม่สามารถมองเห็นจากอวกาศได้[2]







ตำนานคลาสสิคกำแพงเมืองจีนพังทลาย เพราะน้ำตาของหญิงที่เสียคนรักซึ่งถูกทางการเกณฑ์ไปใช้แรงงานจนตาย  
กำแพงเมืองจีน หรือ “กำแพงหมื่นลี้” ที่เรียกตามความยิ่งใหญ่ของกำแพงที่ยาวกว่าหมื่นลี้ สร้างขึ้นเพื่อใช้สกัดกั้นและป้องกันการรุกรานในชีวิตและทรัพย์สินของชาวฮั่นที่อยู่ทางใต้ของตัวกําแพงจากพวกชนเผ่าทางเหนือ กำแพงเมืองจีนสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฉิน (พ.ศ. 323-338) หรือกว่า 2,000 ปีก่อน ซึ่งขณะนั้นยังไม่มีวิทยาการที่จะช่วยแบ่งเบาการทำงานของคนงานที่ถูกเฏณฑ์มาสร้างกำแพงมากนัก
สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เช่นนี้จึงสร้างความทุกข์ยากแสนสาหัสแก่ประชาชน เพราะพวกเขาต้องถูกเกณฑ์มาใช้แรงงานอย่างไม่ต้องสงสัย ชายฉกรรจ์ที่เป็นผู้สร้างกําแพงจํานวน 200,000-300,000 คน ทำงานในสภาพภูมิอากาศที่อันตราย หนาวเหน็บ และงานที่ตรากตรำ ชีวิตของพวกเขาจึงเหมือนมีชีวิตแขวนอยู่บนเส้นดาย
ส่วนครอบครัวทางบ้านก็อยู่ในสภาพที่ไม่แตกต่างกัน ชีวิตของพ่อแม่ลูกและภรรยาของพวกเขาต้องขาดหลักประกัน และสิ้นหวังเพราะไม่ทราบว่าสมาชิกในครอบครัวที่ถูกเกณฑ์ไปใช้แรงงานนับแรมปีจะได้มีโอกาสกลับมาพบหน้ากันอีกหรือไม่
ความสงสารเห็นใจต่อตัวผู้ที่เป็นแรงงานสร้างกําแพง และการประณามการปกครองที่โหดร้ายของราชวงศ์ฉิน ได้ค่อยๆ ก่อเกิดเรื่องเล่า “นางเมิ่งเจียงหนี่ว์ร้องไห้ที่กําแพงเมืองจีน” ขึ้นในหมู่ประชาชน
เรื่องมีอยู่ว่า ว่านสี่เหลียง ผู้มีสติปัญญาความรู้ ที่พยายามหลบซ่อนตัวจากการเกณฑ์แรงงานไปสร้างกำแพงเมืองของทางการ วันหนึ่งเขาได้หนีไปอยู่ที่บ้านตระกูลเมิ่ง นางเมิ่งเจียงหนี่ว์ผู้มีจิตใจงดงามและพ่อแม่ของนางช่วยให้ที่หลบซ่อนตัว พ่อแม่ของนางชื่นชอบในตัวว่านสี่เหลียงเป็นอย่างยิ่ง จึงยกนางเมิ่งเจียงหนี่ว์ให้เป็นภรรยา ทั้งสองแต่งงานได้เพียงไม่กี่วัน ว่านสี่เหลี่ยงก็ถูกทางการเกณฑ์ไปสร้างกําแพง




นายธีระศักดิ์ หนูสน ม.6/6 เลขที่27



กำแพงเมืองจีน

กำแพงเมืองจีน




สิ่งมหัศจรรย์ที่ติดอันดับทั้งจากโลกยุคกลางและโลกยุคใหม่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “กำแพงหมื่นลี้” สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าจิ๋นซีฮ่องเต้ (Qin Si Huang) เพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าทางเหนือ และมีการสร้างขยายต่อเติมมาถึงในสมัยราชวงศ์หมิง จากการสำรวจในปี ค.ศ. 2012 พบว่ากำแพงหลักและสาขาย่อยต่างๆ มีความยาวรวมกันเกือบ 22,000 กิโลเมตร โดยส่วนใหญ่นักท่องเที่ยวจะนิยมไปเยี่ยมชมกำแพงเมืองจีนกันที่เมืองปักกิ่ง





กำแพงเมืองจีน หรือ The Great Wall of China สถานที่ท่องเที่ยวชื่อดังและยิ่งใหญ่ อันเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน ที่ครั้งหนึ่งเคยใช้เป็นตัวแทนความรุ่งเรืองของจีนมาหลายศตวรรษ ทั้งยังนับเป็นงานก่อสร้างที่มหัศจรรย์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเท่าที่เคยมีมา หากแต่ยังมีเรื่องน่ารู้มากมายที่ซุกซ่อนอยู่เบื้องหลังกำแพงยิ่งใหญ่แห่งนี้ และไม่แน่ว่าอาจเป็นเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อน บอกเลยว่างานนี้เน้นสาระล้วน ๆ


 1. กำแพงเมืองจีนมีความยาวอย่างเป็นทางการครั้งล่าสุด (** รายงานการอัปเดตครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2555 จาก สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน) อยู่ที่ 21,196.18 กิโลเมตร หรือ 13,170.7 ไมล์

  2. กำแพงเมืองจีนมีอาณาเขตครอบคลุมทั้งหมด 9 มณฑล คือ มณฑลเหลียวหนิง (Liaoning), มณฑลเทียนจิน (Tianjin), มณฑลเหอเป่ย์ (Hebei), ปักกิ่ง (Beijing), เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (Inner Mongolia), มณฑลซานซี (Shanxi), มณฑลส่านซี (Shaanxi), เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย (Ningxia) และ มณฑลกานซู (Gansu)
 
          3. จักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์แรกของประวัติศาสตร์จีน เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองจีนนี้ขึ้นมา ทรงปราบปรามก๊กต่าง ๆ ทั้ง 6 ก๊กได้สำเร็จ รวบรวมจีนเป็นหนึ่งเดียว เพื่อป้องกันศัตรูเข้ามาบุกรุกและปล้นสะดม และมีการบูรณะแก้ไขเพิ่มเติมทั้งในสมัยฮั่น ถัง และหมิงตามลำดับ ปัจจุบันที่เห็นเป็นกำแพงของราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-1644)
 
          4. วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างกำแพงเมืองจีนมีความหลากหลาย และแตกต่างกันตามแต่ละภูมิประเทศที่กำแพงเหล่านั้นพาดผ่าน ซึ่งมีทั้งหิน ดิน และไม้เป็นวัสดุหลัก แต่บางจุดก็ใช้หินอ่อน หินแกรนิต โคลน หรือดินเผา แต่ที่คงเหลืออยู่ในปัจจุบันมักเป็นกำแพงที่สร้างด้วยหิน
 
          5. กำแพงเมืองจีนสร้างขึ้นจากหยาดเหงื่อแรงงานนับล้าน โดยแรงงานที่ถูกเกณฑ์มาส่วนใหญ่เป็นนักโทษสงครามและทาส และมีแรงงานจำนวนไม่น้อยที่เสียชีวิตลงระหว่างการก่อสร้าง และศพเหล่านั้นก็ได้ถูกฝังทับถมอยู่ภายใต้กำแพง จนได้ชื่อว่าเป็นสุสานที่ยาวที่สุดในโลก

 6. กำแพงเมืองจีนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้รับการยกย่องให้เป็น 1 ใน 7 ของสิ่งมหัศจรรย์แห่งโลกยุคกลาง ทั้งยังเป็นสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ยาวที่สุดในโลก
 
          7. วัตถุประสงค์ของการสร้างกำแพงเมืองจีน เพื่อป้องกันอาณาจักรไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเมืองหลวงได้ง่าย และยังเป็นแนวบอกชายแดนอีกด้วย นับจากสมัยจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ กำแพงเมืองจีนก็ได้สร้างกันมาอีกหลายยุคหลายสมัย รวมระยะเวลาสร้างทั้งสิ้นเกือบสองพันปี

          8. ปัจจุบันกำแพงเมืองจีนที่เราเห็นเป็นเพียงแค่ 1 ใน 3 ของกำแพงทั้งหมดเท่านั้น และมีแนวโน้มว่าอาจจะลดลงอีกเรื่อย ๆ สาเหตุสำคัญมาจากขาดการดูแลและอนุรักษ์ รวมถึงสภาพอากาศที่แปรปรวน ซึ่งมีผลต่อการกัดเซาะและสึกกร่อนของกำแพงเมืองจีนไปเรื่อย ๆ



กำแพงเมืองจีน (จีนตัวย่อ长城จีนตัวเต็ม長城พินอินChángchéng "ฉางเฉิง", อังกฤษGreat Wall of China) เป็นกำแพงที่มีป้อมคั่นเป็นช่วง ๆ ของจีนสมัยโบราณ กำแพงส่วนใหญ่ที่ปรากฏในปัจจุบันสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฉิน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการบุกรุกจาก ชาวฮัน หรือ ซฺยงหนู คำว่า ซฺยงหนู บางทีก็สะกดว่า ซุงหนู หรือ ซวงหนู ที่เป็นไม้เบื่อไม้เมากับอารยธรรมจีนในยุคต้น ๆ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว (ราว 400 ปีก่อนคริสตกาล) เนื่องจากจะเข้ามารุกรานจีนตามแนวชายแดนทางเหนือ ในสมัยราชวงศ์ฉิน ได้สั่งให้สร้างกำแพงหมื่นลี้ตามชายแดน เพื่อป้องกันพวกซฺยงหนูเข้ามารุกรานและพวกเติร์ก จากทางเหนือ หลังจากนั้นยังมีการสร้างกำแพงต่ออีกหลายครั้งด้วยกัน แต่ภายหลังก็มีเผ่าเร่ร่อนจากมองโกเลียและแมนจูเรียสามารถบุกฝ่ากำแพงเมืองจีนได้สำเร็จ
กำแพงเมืองจีนยังคงเรียกว่า "กำแพงหมื่นลี้" (จีนตัวย่อ万里长城จีนตัวเต็ม萬里長城พินอินWànlĭ Chángchéng "ว่านหลี่ฉางเฉิง") สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ว่านักโบราณคดีได้ตรวจวัดความยาวของสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกหรือ "กำแพงเมืองจีน" อย่างเป็นทางการนานร่วม 5 ปี ตั้งแต่ 2008-2012 และพบว่ายาวกว่าที่บันทึกไว้เดิมกว่า 2 เท่า หรือ 21,196.18 กิโลเมตร จากเดิม 8,850 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 15 มณฑลทั่วประเทศ[1] และนับเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ยุคกลาง ด้วย มีความเชื่อกันว่า หากมองเมืองจีนจากอวกาศจะสามารถเห็นกำแพงเมืองจีนได้ ซึ่งในความเป็นจริงไม่สามารถมองเห็นจากอวกาศได้[2]







ตำนานคลาสสิคกำแพงเมืองจีนพังทลาย เพราะน้ำตาของหญิงที่เสียคนรักซึ่งถูกทางการเกณฑ์ไปใช้แรงงานจนตาย  
กำแพงเมืองจีน หรือ “กำแพงหมื่นลี้” ที่เรียกตามความยิ่งใหญ่ของกำแพงที่ยาวกว่าหมื่นลี้ สร้างขึ้นเพื่อใช้สกัดกั้นและป้องกันการรุกรานในชีวิตและทรัพย์สินของชาวฮั่นที่อยู่ทางใต้ของตัวกําแพงจากพวกชนเผ่าทางเหนือ กำแพงเมืองจีนสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฉิน (พ.ศ. 323-338) หรือกว่า 2,000 ปีก่อน ซึ่งขณะนั้นยังไม่มีวิทยาการที่จะช่วยแบ่งเบาการทำงานของคนงานที่ถูกเฏณฑ์มาสร้างกำแพงมากนัก
สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เช่นนี้จึงสร้างความทุกข์ยากแสนสาหัสแก่ประชาชน เพราะพวกเขาต้องถูกเกณฑ์มาใช้แรงงานอย่างไม่ต้องสงสัย ชายฉกรรจ์ที่เป็นผู้สร้างกําแพงจํานวน 200,000-300,000 คน ทำงานในสภาพภูมิอากาศที่อันตราย หนาวเหน็บ และงานที่ตรากตรำ ชีวิตของพวกเขาจึงเหมือนมีชีวิตแขวนอยู่บนเส้นดาย
ส่วนครอบครัวทางบ้านก็อยู่ในสภาพที่ไม่แตกต่างกัน ชีวิตของพ่อแม่ลูกและภรรยาของพวกเขาต้องขาดหลักประกัน และสิ้นหวังเพราะไม่ทราบว่าสมาชิกในครอบครัวที่ถูกเกณฑ์ไปใช้แรงงานนับแรมปีจะได้มีโอกาสกลับมาพบหน้ากันอีกหรือไม่
ความสงสารเห็นใจต่อตัวผู้ที่เป็นแรงงานสร้างกําแพง และการประณามการปกครองที่โหดร้ายของราชวงศ์ฉิน ได้ค่อยๆ ก่อเกิดเรื่องเล่า “นางเมิ่งเจียงหนี่ว์ร้องไห้ที่กําแพงเมืองจีน” ขึ้นในหมู่ประชาชน
เรื่องมีอยู่ว่า ว่านสี่เหลียง ผู้มีสติปัญญาความรู้ ที่พยายามหลบซ่อนตัวจากการเกณฑ์แรงงานไปสร้างกำแพงเมืองของทางการ วันหนึ่งเขาได้หนีไปอยู่ที่บ้านตระกูลเมิ่ง นางเมิ่งเจียงหนี่ว์ผู้มีจิตใจงดงามและพ่อแม่ของนางช่วยให้ที่หลบซ่อนตัว พ่อแม่ของนางชื่นชอบในตัวว่านสี่เหลียงเป็นอย่างยิ่ง จึงยกนางเมิ่งเจียงหนี่ว์ให้เป็นภรรยา ทั้งสองแต่งงานได้เพียงไม่กี่วัน ว่านสี่เหลี่ยงก็ถูกทางการเกณฑ์ไปสร้างกําแพง




นายธีระศักดิ์ หนูสน ม.6/6 เลขที่27

















วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562

มหาวิทยาลัยที่จะศึกษาต่อ

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

ชื่อย่อ  มทษ/TSU

ที่ตั้ง 140 หมู่ 4 ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา




ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นปาริชาติ



███ สีเทา เป็นสีของสมอง หมายถึง ความคิดหรือปัญญา
███ สีฟ้า เป็นสีของทะเล และท้องฟ้า หมายถึง ความกว้างไกล




ประวัติมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกๆ ในพื้นที่ภาคใต้ ถือกำเนิดขึ้นภายหลังจากการสถาปนาวิทยาลัยวิชาการศึกษา (College of Education) ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ขึ้นแทนโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ณ ถนนประสานมิตร อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร ในปีพุทธศักราช 2497 เพื่อพัฒนาปรัชญาและแนวคิดทางด้านการศึกษาสมัยใหม่ให้สอดคล้องผสานสัมพันธ์กับสังคมประชาธิปไตย รวมทั้งการพัฒนาการศึกษาศาสตร์ให้เป็นวิชาชีพที่มีระบบแบบแผน และมีความลุ่มลึกในสังคมไทย พร้อมกับการประสาทปริญญาทางด้านศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยวิชาการศึกษาได้พัฒนาและเจริญก้าวหน้ามาโดยลำดับ พร้อมกับการขยายการจัดการศึกษาไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ และมีการบริหารงานแบบหลายวิทยาเขต ประกอบด้วย วิทยาเขตปทุมวัน (ปีพุทธศักราช 2498) วิทยาเขตบางแสน จังหวัดชลบุรี (ปีพุทธศักราช 2498) วิทยาเขตพิษณุโลก (ปีพุทธศักราช 2510) วิทยาเขตมหาสารคาม (ปีพุทธศักราช 2511) วิทยาเขตสงขลา (ปีพุทธศักราช 2511) วิทยาเขตพระนคร (ปีพุทธศักราช 2512) และวิทยาเขตพลศึกษา (ปีพุทธศักราช 2513) โดยมีวิทยาเขตประสานมิตรเป็นศูนย์กลางการบริหาร



รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย ชำนิ
อธิการบดี


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ กาญจนมุกดา 
รองอธิการบดี
ฝ่ายวางแผน การคลัง 
และกิจการสภามหาวิทยาลัย



รองศาสตราจารย์ ดร. ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์
รองอธิการบดี
ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ 


รองศาสตราจารย์ เกษม อัศวตรีรัตนกุล 
รองอธิการบดี
ฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์









คณะที่จะศึกษาต่อ 

คณะศึกษาศาสตร์



























































นายธีระศักดิ์ หนูเสน
ม.6/6 เลขที่27   





กำเเพงเมืองจีน

กำแพงเมืองจีน สิ่งมหัศจรรย์ที่ติดอันดับทั้งจากโลกยุคกลางและโลกยุคใหม่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “กำแพงหมื่นลี้” สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้า...